วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

กลอนต่างต่าง

กลอนสุภาพ เป็นกลอนประเภทหนึ่ง ซึ่งลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ ใช้ถ้อยคำและทำนองเรียบๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพเป็นกลอนหลักของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น








คำประพันธ์ ที่ต่อท้ายว่า "สุภาพ" นับว่าเป็นคำประพันธ์ที่แสดงลักษณะเป็นไทยแท้ ด้วยมีข้อบังคับในเรื่อง "รูปวรรณยุกต์" ในกลอนสุภาพนอกจากมีบังคับเสียงสระเป็นแบบแผนเช่นกลอนปกติแล้ว ยังบังคับรูปวรรณยุกต์เพิ่ม จึงมีข้อจำกัดทั้งรูปและเสียงวรรณยุกต์ [1] เป็นการแสดงไหวพริบปฏิภาณและความแตกฉานในการใช้ภาษาไทยของผู้แต่งให้เด่นชัดยิ่งขึ้น






คำประพันธ์กลอนสุภาพนิยมเล่นกันมากตั้งแต่สมัยอยุธยา จวบจนถึงปัจจุบัน ในต้นรัตนโกสินทร์นั้นงานกลอนสุภาพเด่นชัดในรัชกาลที่ 2 ซึ่งเฟื่องฟูถึงขนาดมีการแข่งขันต่อกลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัชสมัยมีผลงานออกมามากมาย เช่น กลอนโขน กลอนนิทาน กลอนละคร กลอนตำราวัดโพธิ์ เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ ยังมีกวีท่านอื่นที่มีชื่อเสียง เช่น สุนทรภู่ เป็นต้น และในสมัยรัชกาลที่ 6 ก็มีปราชญ์กวีทางกลอนสุภาพที่สำคัญหลายท่านเช่น
สีแดงแรงฤทธิ์พิสดาร สีเหลืองอลังการงานสร้าง สีเขียวชุ่มช่ำน้ำค้าง สีฟ้าเลือนลางจางไป สีส้มอมเปรี้ยวเสี้ยวสุด สีม่วงทรงทรุดหยุดไหม สีดำกล้ำกลืนฝืนใจ ชมพูสดใสใจดี สีขาวบริสธิ์ผุดผ่อง สีทองจองจำนำหนี น้ำเงินเพลินจิตมิตรมี น้ำตาลหวานฤดีมี


                                                                          ตัวอย่าง
                                     
ฉันเป็นแม่น้ำลำคลอง



หม่นหมองต้องแอบร้องไห้



ขยะลอยฟ่องล่องไป



ทำไมทำฉันเช่น


ยาเสพติดพิษแรงร้าย



ทำลายชาติศาสนา



หากใครหลงผิดติดยา



เหมือนพาชีวิตปลิดปลง



ความรักของแม่ ไม่แพ้รักใจ






แม่นี้สำคัญ สร้างฝันเพื่อแม่











แม่ให้หมดใจ ห่วงใยผูกพันธ์



แม่มีสิ่งไหน แม่ให้สิ่งนั้น




กลอนแปดนั้นถือว่าเป็นขนบกวีนิพนธ์พื้นฐานที่นิยมที่สุดในไทย เหตุเพราะมีฉันทลักษณ์ที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน สามารถแสดงอารมณ์ได้หลากหลาย และคนทั่วไปสามารถเข้าถึงเนื้อความได้ไม่ยาก รูปแบบของกลอนแปดที่ถือว่าพัฒนาได้ถึงขีดสุด คือ รูปแบบกลอนแปดของสุนทรภู่ ซึ่งปรับปรุงจากกลอนตลาดทั่วไปที่นิยมเล่นกันมาแต่ก่อน ให้มีความแพรวพราวด้วยสัมผัสในผสมผสานกันไป และขนบดังกล่าวนี้ก็ได้รับการสืบทอดต่อมาในงานกวีนิพนธ์ยุคหลังๆ กระทั่งปัจจุบัน อาทิตัวอย่างข้างบน เป็นการนำเอากลอนแปดมาประพันธ์เป็นบทไหว้ครูที่แสนไพเราะจับใจและมีความหมายที่คมคาย








[แก้] แผน


[แก้] ตัวอย่าง


ใครอยู่ในดวงจิตของศิษย์แก้ว ใครคอยแผ้วทางให้ไปสู่ฝัน


ใครโอบอุ้มศิษย์นี้ทั้งชีวัน ใครหนอจิตแบ่งปันนิรันดร


ใครหนอเฝ้าฟูมฟักรักลูกศิษย์ ใครหนอจิตจดจ่อต่อการสอน


ใครหนอเก่งแกร่งกล้าแต่อาทร ใครหนอป้อนปัญญามาสู่เรา


ใครหนอสอนสั่งสมอบรมให้ ใครหนอใครขบคิดกลัวศิษย์เขลา


ใครดุจดั่งพ่อแม่ดูแลเรา ใครหนอเล่าเรื่องราวกล่าววิชา


ใครคนนั้นคือครูผู้รู้รอบ ผู้ก่อกอปรสร้างฐานการศึกษา


พระคุณท่านศิษย์ซาบซึ้งตรึงวิญญา ขอวันทาเทิดทูนพระคุณครู


— ธรพันธ์ พงศ์เสนียกุล. นครนายก, 2549


หนังสือ การประพันธ์โคลงสี่สุภาพ, กรมศิลปากร, กรุงเทพ, พ.ศ. 2548 หน้า 15

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น